พุยพุย

วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

การบันทึกครั้งที่ 5 วันที่ 16 กันยายน 2558 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.

สัปดาห์ที่4 

1.เรียนทฤษฎี






แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
• เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้
ภาษาของเด็ก
• น าไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกันRichard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษา
ในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
- น ำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
- เสียง ไวยากรณ์ การประกอบค าเป็ นวลี หรือประโยค2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็ นเครื่องมือส าหรับสื่อความหมาย
-การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
-การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษาการสอนแบบอ่านแจกลูก (Phonic)
• การประสมค า
• พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด• ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการใช้ภาษาของเด็ก
• ไม่สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ภาษาของเด็กธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
• สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
• ช่างสงสัย ช่างซักถาม
• มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
• ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
• เลียนแบบคนรอบข้าง
• เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
• มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
• แนวทางการสอนมีพื ้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
Kenneth Goodmanการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
(Whole Language)ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
Dewey / Piaget / Vygotsky / Haliday
• เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และการลงมือกระท า
• เด็กเรียนรู้จากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเองและการได้สัมผัสจับ
ต้องกับสิ่งต่างๆ แล้วสร้างความรู้ขึ ้นมาด้วยตนเอง
• อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นๆ มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็กการสอนภาษาธรรมชาติ
• สอนแบบบูรณาการ / องค์รวม
• สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายส าหรับเด็ก
• สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจ าวัน
• สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ไปพร้อมกับการท า
กิจกรรม
• ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
• ไม่บังคับให้เด็กเขียนหลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
นฤมน เนียมหอม (2540)
1. การจัดสภาพแวดล้อม
• ตัวหนังสือที่ปรากฏในห้องเรียนจะต้องมีเป้ าหมายในการใช้จริงๆ
• หนังสือที่ใช้ จะต้องเป็ นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัว
• เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม2. การสื่อสารที่มีความหมาย
• เด็กสื่อสารโดยมีพื ้นฐานจากประสบการณ์จริง
• เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
• เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาส3. การเป็ นแบบอย่าง
• ครูอ่านและเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น
• ครูเป็ นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นว่าการอ่านเป็ นเรื่องสนุก4. การตั้งความคาดหวัง
• ครูเชื่อมั่นว่าเด็กมีความสามารถในการอ่านและการเขียน
• เด็กสามารถอ่าน เขียนได้ดีและถูกต้องยิ่งขึ ้น5. การคาดคะเน
• เด็กมีโอกาสที่จะทดลองกับภาษา
• เด็กได้คาดเดาหรือคาดคะเนค าที่จะอ่าน
• ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านและเขียนได้เหมือนผู้ใหญ่6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
• ตอบสนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็ก
• ยอมรับการอ่านและการเขียนของเด็ก
• ตอบสนองเด็กให้เหมาะสมกับสถานการณ์7. การยอมรับนับถือ
• เด็กมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
• เด็กได้เลือกกิจกรรมที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง
• ในช่วงเวลาเดียวกันเด็กไม่จ าเป็ นต้องท ากิจกรรมอย่างเดียวกัน
• ไม่ท ากิจกรรมตามล าดับขั ้นตอน8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
• ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยที่ใช้ภาษา
• ครูจะต้องท าให้เด็กไม่กลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
• ไม่ตราหน้าเด็กว่าไม่มีความสามารถ
• เด็กมีความเชื่อมั่นว่าตนมีความสามารถบทบาทคร
ู(นิรมล ช่างวัฒนชัย, 2541)
• ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
• ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การเขียน
• ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
• ครูสร้างความสนใจในค าและสิ่งพิมพ์ผิดถ่ายทอดความรู้ผ่านอำนวยความสะดวกผู้ร่วมทางการเรียนไปพร้อมๆ กับเด็ก 



2.ทบทวนเพลง







3.ดูวีดีโอ









4.ร้องเพลงใหม่



ทั้งหมด 5 เพลง
-เพลงนกกระจิบ
-เพลงเที่ยวท้องนา
-เพลงแม่ไก่ออกไข่
-เพลงลูกแมวสิบตัว
-เพลงลุงมาชาวนา




5.ร้องเพลงหน้าห้องทีละคน

วันนี้ร้องเพลง สวัสดี  อาจารย์เบียร์ให้เปลี่ยนสวัสดีเป็น ภาษามาเลเซีย 
มิงกลาบา มิงกลาบา ยินดีที่พบกัน
เธอและฉันพบกัน  มิงกลาบา























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น